Category Archives: 1 ความรู้พื้นฐาน
หม้อแปลงกระแสไฟฟ้า CT class 0.5 , 1.0 , 5P10 , 5P20 ต่างกันอย่างไร?
วิธีการคำนวณกระแสลัดวงจร kA
ระบบคาปาซิเตอร์อัตโนมัติชนิดดีจูน (AUTOMATIC DETUNED CAPACITOR BANK)
ระบบคาปาซิเตอร์อัตโนมัติชนิดดีจูน (AUTOMATIC DETUNED CAPACITOR BANK) [pdf-embedder url=”https://powercalcular.com/wp-content/uploads/2018/08/Capacitor_and_Harmonics.pdf”]
การทดสอบฉนวนทางไฟฟ้า โดยการใช้ Guard terminal (สำหรับ HV Cables, Bushing, Transformer and CB)
Guard terminal ทำอะไรได้บ้าง? ในระหว่างการทดสอบฉนวน ความต้านทานทางด้านนอกของวัสดุฉนวนมักจะถูกละเลย อย่างไรก็ตาม เส้นทางวงจรความต้านทานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการวัดและสามารถส่งผลต่อผลลัพธ์ได้อย่างมาก ตัวอย่าง เช่น ถ้ามีสิ่งสกปรกอยู่บนพื้นผิวด้านนอกของ Bushing กระแสรั่วไหลตามพื้นผิวอาจขึ้นไปถึง 10 เท่าของค่ากระแสที่ไหลผ่านฉนวนที่เกิดขึ้นจริง กระแสรั่วไหลตามพื้นผิวจะเป็นวงจรตัวต้านทานที่ต่อแบบขนานกับความต้านทานฉนวนที่แท้จริงของวัสดุที่กำลังทดสอบ โดยการใช้ Guard terminal เพื่อทำการทดสอบแบบ ‘three-terminal test’ การรั่วไหลของกระแสตามพื้นผิวอาจจะถูกละเลยได้ ค่าเหล่านี้อาจมีความสำคัญต่อการคาดการค่าความต้านทานสูงๆ เช่น เมื่อตรวจสอบส่วนประกอบแรงดันสูงของ insulator bushing และ cable กระแสไฟฟ้าทั้งหมดที่ไหลผ่านระหว่างการทดสอบความต้านทานฉนวนประกอบด้วยส่วนประกอบหลัก 3 ส่วน ดังนี้ Charging current คือ กระแสไฟฟ้าที่เกิดจากการชาร์จประจุของวัตถุฉนวนในช่วงแรกๆ Absorption current คือ กระแสที่ถูกดึงเข้าไปในฉนวนโดยผ่านขั้วของโมเลกุล จะทำให้ค่าเริ่มแรกมีค่าสูง แต่จะลดลงเรื่อย ๆ เมื่อเวลาผ่านไป แต่มีอัตราที่ช้ากว่ากระแสไฟฟ้าที่เกิดจากการชาร์จ Conduction or leakage current คือ กระแสการนำไฟฟ้าหรือกระแสไฟฟ้ารั่ว เป็นกระแสไฟฟ้าที่มีขนาดเล็ก ที่อยู่ในช่วง steady state… Read More »
หม้อแปลงทำงานอย่างไร?
ความรู้พื้นฐาน ขอบเขตงานระบบไฟฟ้า (Electrical Basic Knowledge)
งานระบบไฟฟ้า Electrical 1. ขอบเขตของงาน 1.1 ผู้รับจ้างต้องจัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่มีคุณภาพ แรงงานที่มีฝีมือและความชำนาญ และมีระบบควบ คุมคุณภาพที่ดี ในการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า ตลอดจนงานชั่วคราว เพื่อให้งานติดตั้งระบบไฟฟ้า แล้วเสร็จสมบูรณ์ และใช้งานได้ตามความประสงค์ของผู้ว่าจ้าง 1.2 ผู้รับจ้างต้องประสานงานกับผู้รับจ้างก่อสร้างอาคาร และผู้รับจ้างรายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ งานก่อสร้างระบบไฟฟ้าแล้วเสร็จสมบูรณ์ 1.3 ผู้รับจ้างต้องจัดหาและติดตั้งงานไฟฟ้าทั้งหมดให้ถูกต้องตามกฎของการไฟฟ้าฯ ตามมาตรฐาน ความปลอดภัยสำหรับงานระบบไฟฟ้าของประเทศไทยและ NEC ผู้รับจ้างต้องแก้ไขงานที่ผิดกฎ และ/หรือ มาตรฐานดังกล่าวให้ถูกต้อง โดยค่าใช้จ่ายของผู้รับจ้าง 1.4 จุดของดวงโคม, ปลั๊ก, สวิทช์ และอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ ที่แสดงในแบบ เป็นจุดตำแหน่ง โดยประมาณเท่านั้น ซึ่งอาจจะมีการเปลี่ยนแปลงตามสภาพของอาคาร โดยผู้รับจ้างจะต้องจัดทำ Shop Drawing ให้ผู้ควบคุมงานพิจารณาอนุมัติก่อนดำเนินการ 1.5 วัสดุและอุปกรณ์ที่นำมาติดตั้ง ต้องเป็นของใหม่ ได้มาตรฐาน อยู่ในสภาพเรียบร้อยสมบูรณ์ และ ไม่เคยผ่านการใช้งานมาก่อน เป็นของที่กำหนดไว้ในแบบและรายการประกอบแบบ และผ่านการ พิจารณาอนุมัติจากผู้ควบคุมงาน ซึ่งเป็นชนิดที่การไฟฟ้าฯ ยินยอมให้ใช้ และมีคุณภาพตาม… Read More »