Monthly Archives: September 2016

Lenovo H520 (ตอนที่ 2 ติดตั้ง Driver )

ความเดิมตอนที่แล้ว  ผมได้เขียนไว้ใน วิธีติดตั้ง Driver Lenovo H520 (ตอนที่ 1 Hard Disc Drive พัง!) ครั้งนี้  ผมก็ขอนำเสนอการ วิธีติดตั้ง Driver Lenovo H520 จริงจังซะที หลังจากที่ผมได้งมๆ ควานหา Driver ในอินเตอร์เน็ตอยู่ประมาณหนึ่งวัน  ก็พบทางสว่างขึ้นมาเล็กน้อย  ซึ่งผมได้ติดตั้ง Driver Lenovo H520 ดังนี้ Realtek Audio Driver for Microsoft Windows 7 (32-bit, 64-bit) – Desktop Lenovo Silver Silk Keyboard Driver for Windows 7 (32-bit, 64-bit) – Desktop CPP2 AMD DISCRETE VGA CARD DRIVER… Read More »

Lenovo H520 (ตอนที่ 1 Hard Disc Drive พัง!)

สวัสดีครับ  วันนี้ผมก็ขอมาเล่าเรื่องเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ของผม คือ Lenovo H520 ไม่แน่ใจว่า ใครซื้อรุ่นเดียวกันกับผมไปใช้งานบ้าง  ( ถ้ามี ก็ช่วยแชร์ด้วยนะครับ ) ตอนนั้น  ผมซื้อไว้เมื่อปี 2558 ตอนนี้ 2559 ประมาณ 1 ปี แล้ว แต่ผมไม่ค่อยได้ใช้  เนื่องจากไปทำงาน on site อยู่บ่อย ๆ ก็ปล่อยให้เพื่อนใช้งาน  ถ้าไม่ได้ใช้งานนานๆ ผมเกรงว่าจะเกิดออกไซด์ไปเกาะแผงวงจรภายใน  Lenovo H520 แต่หลังจากผมกลับมาใช้งาน ตอนแรกก็เปิดใช้งานได้เป็นอย่างดี (เพียงครั้งเดียวเท่านั้น) แต่สักพักนึงก็เกิดอาการ “เครื่องค้าง!” ผมก็แปลกหาเหตุอยู่สักพักหนึ่ง (แต่ไม่โทษเพื่อนนะครับ เพราะเขาไม่ได้ใช้อะไรมากมาย) ก็พบว่า Hard Disc Drive พัง!   ตอนผม Boot เครื่องเพื่อเข้าสู่ Window 7 มันก็แสดงรหัสผิดพลาดดังนี้ error 1962 no operating system found.… Read More »

ตารางสายไฟฟ้า THW และ Wire Color New Standard Code

ขนาดกระแสของสายไฟทองแดงหุ้มฉนวน PVC ตาม มาตรฐานสายไฟฟ้า มอก.31-2531 เป็นตารางสายไฟที่ผมใช้อ้างอิงในการออกแบบอยู่เป็นประจำ แต่ปัจจุบันนี้ก็มี  มาตรฐานสายไฟฟ้าใหม่ มอก.11-2553  ออกมาให้ใช้กันแล้วเช่นกัน ซึ่งความแตกต่างก็มีเพิ่มขึ้นมาหลายจุดเช่นกัน  ถ้าผมมีข้อมูลเหล่านั้นแล้ว…ผมจะนำมารวบรวมไว้ที่บทความแห่งครับ [pdf-embedder url=”https://powercalcular.com/wp-content/uploads/2016/09/Wire-table-TH.pdf” title=”wire-table-th”]   สำหรับมาตรฐานสีของสายไฟอันใหม่ก็ออกมาไล่เลี่ยกัน ซึ่งมีสีของแต่ละเฟสแตกต่างกัน ดังนี้   บริจาคให้กับการพัฒนาเว็บไซต์นี้

ANSI Device Numbers ,IEEE Standard Numbers (Electric Power System)

ANSI numbers IEEE Standard Electric Power System Device Function Numbers acc. to IEEE C.37.2-1991 Device function numbers standardized by IEEE and updated from time to time are used in many countries. Each number with its corresponding function name and the general description of each function is listed below. For more information the relevant standards are to be consulted. Standard device… Read More »

ตารางบัสบาร์ Busbar table DIN IEC Standard

    บ่อยครั้งที่การทำงานล่าช้าอันเนื่องมากจากการเปิดตาราง บ่อยครั้งที่ผมมักจะค้นหาตารางบัสบาร์ในอินเตอร์เน็ตเพื่อใช้เลือกขนาดบัสบาร์มาเลือกซื้อและใช้งานด้านต่าง ๆ ส่วนใหญ่จะเป็นตู้ไฟฟ้า เช่น MDB DB  เป็นต้น  วันนี้ผมก็ขอนำตารางบัสบาร์มาไว้ในที่นี้ เผื่อพี่ๆน้องๆต้องการใช้งาน วิธีใช้ตารางบัสบาร์ ให้ดูว่าเราจะใช้มาตรฐานอะไร IEC หรือ DIN และดูที่ค่าอุณหภูมิโดยรอบ (Ambient Temperature) ด้วยว่า จะเลือกใช้งานบัสบาร์นั้นที่อุณหภูมิเท่าไร แล้วจึงทำการเลือกใช้ขนาดบัสบาร์ให้เหมาะสมกับพื้นที่นั้น ๆ ตารางพิกัดการนำกระแสของบัสบาร์ (Busbar Table) มีดังนี้ มาตรฐาน DIN 4367 มาตรฐาน BS 159 มาตรฐาน ANSI C77.20 มาตรฐาน IEC 439-1 [pdf-embedder url=”https://powercalcular.com/wp-content/uploads/2016/09/BUSBAR-TABLE-IEC-DIN.pdf” title=”BUSBAR TABLE IEC DIN”]     แปะ Comment ท้ายบทความนี้ หากสนใจตารางบัสบาร์   EXCEL FILE… Read More »

ทักษะด้าน Programming ที่จำเป็นสำหรับวิศวกรไฟฟ้า มีอะไรบ้าง?

ช่วงนี้เป็นการขวนขวายหาความรู้และทักษะใส่ตัว  เพื่อรองรับอนาคตที่เราจะหมดแรงทำงาน หรือ อาจจะเหนื่อยล้าเกินไปเมื่ออายุของเรามากขึ้น  แล้วทางออกของผมคืออะไร ?  แน่นอนว่า ผมทำงานด้านวิศวกรรมไฟฟ้า  สิ่งที่ใกล้เคียงทางด้านนี้ ก็คือ การทำงานด้านโปรแกรม หรือ พัฒนาเว็บ เพื่อใช้ในงานด้านวิศวกรรม  ถือเป็นการต่อยอดไปในตัวและรองรับอนาคตของตนเองด้วย วันนี้ผมก็นั่งหาข้อมูลเกี่ยวกับ Programming Electrical  ก็ไปเจอกับเว็บไซต์หนึ่ง ที่มีการถามตอบกัน  ผมก็ขอยกความคิดเห็นเหล่านั้นมาให้พิจารณากันดูนะครับ 🙂 I think that computer programming was not so essential and beneficial in electrical engineering previously as it is now. Drastic increments in computers application needs programming skill in every engineer irrelavent to his field.… Read More »